Author Archives: admin

คาถาหลวงปู่ศุข (วัดมะขามเฒ่า)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓จบ)สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ “มะอะอุ” (๙จบ) ขึ้นรถ ลงเรือ ขึ้นเครื่องบิน ท่องไว้เสมอ ป้องกันภัยพิบัติ ฯ

คาถาบูชาสมเด็จโต

ก่อนที่จะเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม 3 จบ แล้วระลึกถึงเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ด้วยคำว่า ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนังอัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตัง สุตตะวาอิติปิโส ภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณมรณังสุขัง อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะ พระคาถาชินบัญชร ๑. ชะยาะสะนากะตา พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา๒. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา๓. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโล จะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร๔. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะ […]

คาถาบูชาสมเด็จโต

ก่อนที่จะเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบแล้วระลึกถึงเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ด้วยคำว่า ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนังอัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตัง สุตตะวาอิติปิโส ภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณมรณังสุขัง อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะ

อิติปิโส เท่าอายุ

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชา จะระระสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะ ทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ ให้สวดเกินอายุ ๑ จบ เช่น อายุ ๔๒ ปี ต้องสวด ๔๓ จบ

วิธีไหว้พระสวดมนต์

ให้นั่งคุกเข่าต่อพระพุทธรูป (ถ้าไม่มีห้องพระ ก็คุกเข่าหน้าหมอนก็ได้ พนมมือกราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์“กราบเบญจางคประดิษฐ์” ก็คือ เข่าทั้งสองถูกพื้น เวลาก้มลงกราบแบมือทั้งสองออก กราบให้ข้อศอกทั้งสองจรดเข่าทั้งสอง มือแบราบกับพื้นนี้แหละเรียกกราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์กราบสามครั้ง แล้วก็ประนมมือสวดว่า อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา(พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ดับกิเลสและกองทุกข์สิ้นเชิง ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง)พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ(ข้าพเจ้าอภิวาท พระพุทธเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน)สะวากขาโต ภะคะวา ธัมโม(พระธรรม อันพระมีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว)(หมายเหตุ สะวากขาโต ให้ออกเสียงว่า “สะหวากขาโต”)ธัมมัง นะมัสสามิ(ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม)สุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ(พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าปฏิบัติดีแล้ว)สังฆัง นะมามิ(ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์)เสร็จแล้วกราบ ๓ ครั้ง แล้วกล่าวว่านะโม ตัสสะ ภะคะวะโต(ขอขอบน้อมแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น)อะระหะโต (ผู้ไกลจากกิเลส) สัมมาสัมพุทธัสสะ (ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง)(ว่า ๓ หน) สำรวมจิตแผ่เมตตาดังนี้ สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้นอะเวรา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลยอัพยาปัชฌา […]

พุทธ แปลว่าผู้รู้

พุทธ แปลว่าผู้รู้ ส่วนที่แปลต่อไปว่า ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เป็นความหมายรอง ความหมายดั้งเดิม คือ ผู้รู้แล้ว (คำว่า ตรัส เป็นคำเขมร แปลว่าแจ้ง ตรัส-รู้=ตรัสรู้ แปลว่าผู้รู้แจ้ง) ในที่นี้ท่านหมายถึง รู้อริยสัจ (ความจริงอันประเสริฐ) ๔ ประการคือ รู้ทุกข์ (ปัญหาของชีวิต) ว่าคืออะไร รู้ว่าทุกข์พึงกำหนดรู้ รู้เหตุแห่งทุกข์ ว่ามีอะไรบ้าง รู้ว่าเหตุแห่งทุกข์พึงละ รู้ภาวะดับทุกข์ รู้ว่าภาวะดับพึงทำให้กระจ่างแจ้ง รู้ทางดับทุกข์ รู้ว่าทางดับทุกข์พึงทำให้เจริญ หรือพึงลงมือทำอย่างจริงจัง ถ้าถามว่า พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร คำตอบก็คือ ตรัสรู้อริยสัจ 4 ประการ หรือจะตอบว่า ตรัสรู้ปฏิจจสมุปบาท (อิทัปปัจยตา) ก็ตอบได้เหมือนกัน เพราะเป็นเรื่องเดียวกัน เพียงเน้นคนละแง่เท่านั้น ในที่นี้จะไม่พูดให้สับสน เพราะมิใช่เขียนตำราเรียนวิชาพระพุทธศาสนา สัมพุทธ (สัม-พุทธ) แปลว่า ผู้รู้พร้อม หรือรู้เอง รู้พร้อม หมายถึง รู้อย่างสมบูรณ์ รู้เอง […]